Skip to main content
DMH e-Library PODCAST

DMH e-Library PODCAST

By DMH e-Library

Podcast แนะนำหนังสือน่าสนใจจากห้องสมุดกรมสุขภาพจิต
Currently playing episode

มุมสถิติ เพื่อการวิจัย

DMH e-Library PODCASTSep 19, 2022

00:00
13:45
มุมสถิติ เพื่อการวิจัย

มุมสถิติ เพื่อการวิจัย

โครงการวิจัยถอดบทเรียนการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ในการรับมือโรค COVID-19 ของจังหวัดต่างๆ

นายแพทย์วิวัฒฯ์ โรจนพิทยากร เป็นผู้รวบรวม จากมุมสถิติวารสารวิชาการสาธารณสุขปี่ที่ 30 พ.ค.-มิ.ย.64

การรายงานค่าสถิติในบทความวิจัย  เขียนโดย อรุณ จิรวัฒน์กุล 

Sep 19, 202213:45
คู่มือแนวทาง การเฝ้าระวังสาธารภัย ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ตอนที่ 2

คู่มือแนวทาง การเฝ้าระวังสาธารภัย ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ตอนที่ 2

ระบบเฝ้าระวังมี 3 ระยะ

1. การเฝ้าระวังภาวะปกติ

2.แจ้งเตือนภัย

3.การเฝ้าระวังภาวะฉุกเฉิน สถานการณ์ด้านการแพทย์และสาธารรสุข

มี 13 ประเด็น


Sep 19, 202214:42
ปัจจัยเสี่ยงการฆ่าตัวตาย ใครบ้างที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย

ปัจจัยเสี่ยงการฆ่าตัวตาย ใครบ้างที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย

ทำไมภาวะซึมเศร้าจึงนำไปสู่การฆ่าตัวตาย 

Sep 09, 202213:55
 คู่มือรูปแบบการสื่อสารการฆ่าตัวตาย ตอนที่ 1ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าตัวตาย

คู่มือรูปแบบการสื่อสารการฆ่าตัวตาย ตอนที่ 1ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าตัวตาย

มาจากรายงานการวิจัย เรื่องภาษา  การสื่อสาร  และบริบทสังคมวัฒนธรรม  สัมพันธสารวิเคราะห์การใช้ภาษาของผู้มีประสบการณ์โรคซึมเศร้า ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อการเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย

พิมพ์ ก.ค.2565 

Sep 09, 202213:37
ดัชนีความก้าวหน้าทางสังคมระดับจังหวัดของประเทศไทย (Social Progress Index for the Provinces of Thailand หรือ SPI Thailand)
Sep 05, 202213:08
บทเรียน คนทำงานวิจัยในประชากรกลุ่มเฉพาะตอน สิี่งที่ได้เรียนรู้จากการเก็บข้อมูลกลุ่มเปราะบาง (ผู้หญิงที่มีบุคคลในครอบครัวดื่มสุรา

บทเรียน คนทำงานวิจัยในประชากรกลุ่มเฉพาะตอน สิี่งที่ได้เรียนรู้จากการเก็บข้อมูลกลุ่มเปราะบาง (ผู้หญิงที่มีบุคคลในครอบครัวดื่มสุรา

นักวิจัยเป็นผูลงเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพทำให้ได้เรียนรู้ที่ได้เรียนรู้จากการเก็บข้อมูลกลุ่มเปราะบาง (ผู้หญิงที่มีบุคคลในครอบครัวดื่มสุรา)ทำให้นักวิจัยรู้ว่า  สุราไม่ได้มีผลเพียงแต่ในครอบครัว  แต่ส่งผลไปในสาธารณะ ตลาด  ถนน การได้ข้อมูลต้องมาจากทุกคนในสังคม ผู้นำชุมชน ครู และคนอื่นๆอีก

Sep 05, 202215:38
คู่มือคลายเครียด ตอนที่ 1 ความคเครียด คืออะไร ความเครียดเกิดจากอะไร  การจัดการความเครียด

คู่มือคลายเครียด ตอนที่ 1 ความคเครียด คืออะไร ความเครียดเกิดจากอะไร การจัดการความเครียด

ความเครียดเป็นเรื่องของร่างกายและจิตใจ  

ความเครียดทำให้เกิดความผิดปกติกทางร่างกาย  เช่นปวดศรีษะ  ท้องเสีย  ท้องผูก  นอนไม่หลับ  ใจสั่น  ถอนหายใจบ่อยๆๆ  เป็นหวัดบ่อยเป็นต้น 

ความเครียดมีผลต่อจิตใจคือ  วิตกกังวล  คิดมาก  คิดฟุ้งซ่าน  หลงลืมง่าย  ไม่มีสมาธิ  หงุดหงิด  โกธรง่าย  ใจน้อย  เบื่อ  ซึม  เหงา ว้าเหว่ สิ้นหวัง เป็นต้น

ความเครียดมีผลต่อพฤติกรรมคือ  ชวนทะเลา  มีเรื่องกับผู้อื่นบ่อยๆๆขี้บ่น  กัดเล็บ เป็นต้น 

Sep 02, 202211:44
 หวยศาสตร์ตอนที่ 4

หวยศาสตร์ตอนที่ 4

เลิกเล่นไม่ได้ เพราะเสียมาเยอะแล้ว  

ทางวิชาการเรียกว่า  การหลงติดเงินที่เสียไปกับการพนัน หรือความคิดติดกับดัก  

Aug 31, 202210:40
อาการเตือนก่อนการกำเริบของโรคจิตเภท

อาการเตือนก่อนการกำเริบของโรคจิตเภท

สมาธิ หรือ ความจำไม่ดี  ความคิดช้า หรือความคิดเร็วเกินไป  วิตกกังวล ตึงเครียด  โกธร หงุดหงิดง่าย  นอนไม่หลับ ฯลฯ

Aug 31, 202212:31
โรคจิตเภทมีอาการอย่างไร

โรคจิตเภทมีอาการอย่างไร

แผ่นพลิก เรื่่อง โปรแกรมลดช่องว่าง การบริการผู้ป่วยโรคจิตในสังคมไทย 

พ.ศ.2557

Aug 31, 202212:05
สติในการคิด กับการคิดบวก

สติในการคิด กับการคิดบวก

สติรู้ความคิด ส่งผลให้มีสติรู้ความรู้สึก ส่งผลให้มีสติในการกระทำ หรือพฤติกรรม ไม่ว่าพูด ฟัง เราก็จะฟังอย่างใจที่เปิดกว้าง 

Aug 30, 202209:57
สื่อสารด้วยสติ

สื่อสารด้วยสติ

สติในการสื่อสาร  ได้แก่ สติในการฟังมากขึ้น  สติในการไม่พูด  สติในการใช้ /เปลี่ยนคำพูด  สติในการพูดอย่างสร้างสรรค์ มีพลัง

ตัวอย่างภาษาฉัน

สติในการสนทนา แบ่งเป็นกัลยาณมิตรสนทนา  และอภิปรายอย่างสร้างสรรค์ โดยจะช่วยการประชุมบรรลุจุดมุ่งหมาย ในการเรียนรู้ และพัฒนาสมรรถนะการทำงาน  โดยเน้นการฟังอย่างใคร่ครวญ หรือสติในการฟัง  รู้ลมหายใจ รู้ในการฟัง  ด้วยใจที่เป็นกลาง  และเปิดกว้าง   จะเกิดความคิดที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์ ของตนเอง และนำไปสู่การนำเสนอ  เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ต่อไป เมื่อนำไปเชื่อมโยงกับทักษะในการจัดการความรู้ ก็จะสามารถถอดความรู้ในการทำงานได้เป็นอย่างดี 

Aug 30, 202212:54
หวยศาสตร์ตอนที่ 3 ครึ่งหลัง

หวยศาสตร์ตอนที่ 3 ครึ่งหลัง

หากมองกันในภาพกว้าง คนเล่นหวยทุกคนเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มคนขนาดใหญ่  มีผู้เล่น 40ล้านคน แต่มีคนถูกเพียงหมื่นกว่าคน

Aug 29, 202205:36
หวยศาสตร์ ตอน 3 ขึ้นแรก

หวยศาสตร์ ตอน 3 ขึ้นแรก

ความบังเอิญจากการสุ่มของเลขที่จะออก

Aug 29, 202206:45
คู่มือแนวทาง การเฝ้าระวังสาธารณภัย ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ตอนที่ 1

คู่มือแนวทาง การเฝ้าระวังสาธารณภัย ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ตอนที่ 1

พิมพ์ เดือนก.ค.65 พิมพ์ที่ บริษัท ซูววีนาวว์ จำกัด  

บรรณษธิการ  นพ. วิมูรย์  อนันกุล  ผู้อำยวนการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน



Aug 26, 202212:49
ขั้นตอน 5ประการของการสนทนาสร้างแรงจูงใจ

ขั้นตอน 5ประการของการสนทนาสร้างแรงจูงใจ

ชนิดของการสนทนา

1.BA

2.BI

Aug 25, 202216:47
ตอนที่ 2 หวยศาสตร์

ตอนที่ 2 หวยศาสตร์

ถูกกินตลอดแต่ชื้อทุกงวด   มนตราของการพนันตัวเลข  ตรระกะวิบัติของนักพนัน

Aug 25, 202210:45
หวยศาสตร์ตอนที่ 1

หวยศาสตร์ตอนที่ 1

พิมพ์พ.ค.65

เจ้าของ ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บรรณาธิการ แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา 

Aug 24, 202211:19
บทเรียนคนทำงานวิจัยในประชากรกลุ่มเฉพาะ การนำเสนอข้อมูลจากการวิจัยสู่สาธาณะตอนที่ 5

บทเรียนคนทำงานวิจัยในประชากรกลุ่มเฉพาะ การนำเสนอข้อมูลจากการวิจัยสู่สาธาณะตอนที่ 5

นักวิจัยต้องมีพื้นฐานที่ชัดเจนว่า  เราเข้าไปเก็บข้อมูลนั้นเพื่อพัฒนาข้อมูลทางวิชาการ 

Aug 23, 202207:51
วารสารกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ฉบับที่ 6 เดือน ก.ค.-ก.ย.65 ดินถล่ม...ภัยเสี่ยงช่วงหน้าฝน

วารสารกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ฉบับที่ 6 เดือน ก.ค.-ก.ย.65 ดินถล่ม...ภัยเสี่ยงช่วงหน้าฝน

เขียนโดย เดือนเพ็ญ  ประทุม กองเผยแพร่และประชาสัมพธ์

4.ข้อปฏิบัติเมื่ออยู่ในสถานการณ์ดินถล่ม

1. อพยพไปตามเส้นทางที่ปลอดภัย  2.หลีดเลี่ยงเส้นทางที่มีกระแสน้ำไหลเชี่ยว

3.อยู่ห่างจากลำน้ำให้มากที่สุด 4.กรณีพลัดตกน้ำให้หาต้นไม้ใหญ่ยึดเกาะและปีนให้พ้นน้ำ

Aug 23, 202211:15
ตอนที่ 6 เสพติดการพนัน

ตอนที่ 6 เสพติดการพนัน

ความเสี่ยงจากประเภทของการพนัน   แนวทางป้องกันที่เน้นด้านปัจจัยปกป้อง

Aug 23, 202211:01
อนที่ 4 บทเรียนคนทำงานวิจัยในกลุ่มประชากรเฉพาะ เรื่อการออกแบบสอบถาม การลงพื้นที่... การรายงานผล 10.68 MB | 11:04

อนที่ 4 บทเรียนคนทำงานวิจัยในกลุ่มประชากรเฉพาะ เรื่อการออกแบบสอบถาม การลงพื้นที่... การรายงานผล 10.68 MB | 11:04

ขอเป็นกำลังใจให้นักวิจัยทุกคนที่ลงพื่้นที่ และสามารถนำเอาแนวทางการจัดการในการลงพื้นที่ไปปรับใช้

Aug 22, 202211:04
บทเรียน คนทำงานวิจัยในประชากรกลุ่มเฉพาะ ตอนที่ 3

บทเรียน คนทำงานวิจัยในประชากรกลุ่มเฉพาะ ตอนที่ 3

การทำงานวิจัยในพื้นที่เสี่ยงภัย มูฮัมมัดฟาห์มี  ตาเละ ผู้เขียน

ปัญหาในขันตอนทำวิจัยและทางแก้ไข

Aug 22, 202209:52
ตอนที่ 1 บทนำ เยาวชนกับการติดสารเสพติด

ตอนที่ 1 บทนำ เยาวชนกับการติดสารเสพติด

บรรณาธิการ รองศาสตร์จารย์แพทย์หญิงรัศมน  กัลยาศิริ 

พิมพ์ส.ค.2564

สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Aug 22, 202211:45
เสี่ยงตอนที่ 6ปัจจัยเสี่ยงด้านชาติพันธุ์และวัฒธรรม

เสี่ยงตอนที่ 6ปัจจัยเสี่ยงด้านชาติพันธุ์และวัฒธรรม

ปัจัยด้านกรรมพันธ์ุและประวัติครอบครัว  ด้านเศรษฐกิจสังคม  

Aug 22, 202210:59
ข้อคำนึงทางจริยธรรมในการวิจัยในกลุ่มประชาากรซ่อนเร้น

ข้อคำนึงทางจริยธรรมในการวิจัยในกลุ่มประชาากรซ่อนเร้น

เป็นกลุ่มประชากรที่เข้าถึงได้ยาก  ยังจำเป็นต้องระมัดระวังการใช้ข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างที่ทำการวิจัย อาจกังวลเรื่องความลับ ข้อมูลด้านไม่ดี

Aug 19, 202210:07
ตอนที่5

ตอนที่5

ด่ีสวส่

Aug 19, 202212:41
ผลเสียหายทางด้านเศรษฐกิจ ต่อครอบครัว

ผลเสียหายทางด้านเศรษฐกิจ ต่อครอบครัว

การติดการพนันไม่ใช่สร้างความเสียหายเฉพาะตัวผู้เล่น พนัน เท่านั้น มี เศรษฐกิจ ความสัมพีนธ์ ต่อครอบครัว ญาติ พี่น้อง เพื่อนสนิท เพื่อนร่วมงาน

Aug 18, 202212:53
ผลเสียหายด้านสุขภาพจิต

ผลเสียหายด้านสุขภาพจิต

เช่นอาการซึมเศร้า ความวิตกกังวล    คิดฆ๋าตัวตาย

Aug 18, 202208:09
ตอนที่1 หนังสือบทเรียนคนทำงานวิจัยในประชากรกลุ่มเฉพาะ

ตอนที่1 หนังสือบทเรียนคนทำงานวิจัยในประชากรกลุ่มเฉพาะ

บรรณาธิการ สาวิตรี อัษณางค์กรชัยและ  สมมร ชิตตระการ 

พิมพ์ที่ บ.สหมิตรพัฒนาการพิมพ์ 1992 มี.ค.64 

Aug 18, 202209:51
ตอนที่ 5 แนวทางป้องกันการติดการพนันในกลุ่มวัยรุ่น

ตอนที่ 5 แนวทางป้องกันการติดการพนันในกลุ่มวัยรุ่น

วัยรุ่นเป็นกลุ่มที่เสี่ยงจะชอบเล่นการพนันมากกว่ากลุ่มวัยอื่น  ชอบความตื่นเต้น สนุก เร้าใจ ติดการพนัน   เรื่องเล่นอิเล็กทรอนิกส์ 

Aug 17, 202216:30
แนะนำอ่านหนังสือ

แนะนำอ่านหนังสือ

เขียนโดย วิทยากร เชียงกูล

ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน

พิมพ์ที่โรงพิมพ์เดือนตุลา พ.ย.62 

สนันสนุนโดยสสส.

Aug 17, 202214:55
  ชีวิต  ไร้ขอบเขต ความหวังที่ไม่สมหวัง

ชีวิต ไร้ขอบเขต ความหวังที่ไม่สมหวัง

เราจัดการโรคซึมเศร้าได้อย่างไร

Aug 08, 202215:43
Reasons to Stay Alive เขียนโดย Matt Haig

Reasons to Stay Alive เขียนโดย Matt Haig

แปลโดย ศริกมล ตาน้อย 

พิมพ์เมื่อกรกฏาคม2564  สำนักพิมพ์ บุ๊คสเคป

ความซึมเศร้า โรคซึมเศร้า 

Aug 08, 202212:28
เรื่อง สติในการกิน...ช่วยให้เราควบคุมน้าหนักและโรคเรื้อรังได้ดีขึ้น

เรื่อง สติในการกิน...ช่วยให้เราควบคุมน้าหนักและโรคเรื้อรังได้ดีขึ้น

สติในการกิน ประกอบด้วยสติก่อนกิน สติระหว่างกิน และสติหยุดกิน สามารถทาได้โดยรู้ ลมหายใจไปในทั้ง 3 องค์ประกอบ

สติในการกิน ช่วยให้สามารถลดการกินเกิน ควบคุมน้าหนักตัวได้ดีขึ้นและช่วยให้การบริหารยา(กินยา) มีประสิทธิภาพมากขึ้นการกินยาที่ถูกต้องตรงเวลา และสม่าเสมอ จะเป็นส่วนสาคัญในการรักษาโรคเรื้อรัง สติในการทากิจกรรมระหว่างกินและสติในการกิน จะช่วยให้เรามีสติในการกินยาด้วย โดยแพทย์มักกาหนดยาให้ทานโดยสัมพันธ์กับเวลาอาหาร (ลองซักถามเวลาทานยาในช่วงยาของแต่ละบุคคล) แลกเปลี่ยนความเข้าใจเรื่องขนาดและเวลาในการกินยา


Jul 27, 202207:40
ฝึกสังเกตความรู้สึกทั่วร่างกาย (Body Scan)

ฝึกสังเกตความรู้สึกทั่วร่างกาย (Body Scan)

1. เมื่อเกิดอารมณ์ที่รุนแรง จะมีการเปลี่ยนแปลงสมดุลของระบบประสาทอัตโนมัติ และปรากฏเป็นความรู้สึกบนร่างกาย เมื่อมีสติในการสังเกตจะเห็นการเกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปโดยไม่ต้องไป ยึดติดกับความรู้สึกนั้น คือการปล่อยวางนั่นเอง

2. เมื่อมีอารมณ์/ความรู้สึก เราจะสามารถใช้สติดูความรู้สึกได้ ถ้าเรามีความรู้สึกตัวที่ดีขึ้นด้วยการฝึกดูความรู้สึกบนร่างกายที่สะท้อนความรู้สึกทางใจ และถ้าพบกับความรู้สึกที่รุนแรงก็ให้เฝ้าสังเกต การเกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปด้วยจิตที่ปล่อยวางได้ การฝึกจิตในการมีสติสังเกตความรู้สึกบนร่างกายอย่างเป็นระบบ (Body scan) และฝึกดูการเปลี่ยนแปลงและปล่อยวาง (Focusing) หากฝึกเป็นประจาจะช่วยให้มีความรู้สึกตัวดีขึ้นและปล่อยวางความรู้สึกได้

3. เราสามารถฝึกสติให้มีความรู้สึกตัวที่ดีขึ้น เพื่อให้การรับรู้อารมณ์ความรู้สึกและปล่อยวางได้โดย

ฝึกในขณะหลับตา ใช้เวลาหลังจากนั่งสมาธิลองให้เวลากับตนเองสัก 10 นาที โดยตั้งใจในช่วงเวลาดังกล่าวจะไม่ขยับตัว ไม่ว่าจะมีความรู้สึกที่รุนแรงเพียงใด แล้วลองสังเกตความรู้สึกตั้งแต่ศีรษะจรดเท้าไปเรื่อยๆ นั่นคือแบ่งร่างกายอย่างเป็นระบบจากศีรษะจรดปลายเท้า แต่ละส่วนใหญ่ๆ ให้แบ่งเป็น ส่วนเล็กลงสัก 3 ส่วน สังเกตความรู้สึกในแต่ละส่วนว่ามีความรู้สึกอะไร อาจเป็นความรู้สึกหนัก เบา เย็น ร้อน อ่อน แข็ง คัน ชื้น ฯลฯ ความรู้สึกนั้นอาจมาจากสัมผัสของเสื้อผ้า หรือจากอากาศภายนอก หรือเป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นเองก็ได้ เมื่อพบแล้วก็เลื่อนความสนใจดูส่วนเล็กๆ ถัดไปอย่างเป็นระบบจนครบรอบทั่วร่างกายทุกส่วน

ขั้น

Jul 27, 202219:02
สติิในการเดิน

สติิในการเดิน

การเดินแบบมีสติให้เดินธรรมกาไม่ต้องช้า หรือเร็วเกินไป แต่ในรู้ลมหา่ยใจไว้เล็กน้อย รู้ในกิจที่ทำคือเดิน เราจะไม่วอกแวก ไม่เหนื่อยงาน และสามารถเดินได้อย่างปลอดภัยไม่หกล้ม หรือไปชนคนอื่นให้เจ็บ

Jul 26, 202210:02
การฝึกสติ

การฝึกสติ

เวลาเรามีสติ จิตเราไม่วอกแวก ไม่ถูกสอดแทรกด้วยอารมณ์  เราจะอยู่กับกิจนั้น  และเก็บรายละเอียดต่างๆได้มากขึ้น ฝึกการหยิบจับเป็นกิจกรรมที่เราทำบ่อยและสามารถทำอย่างมีสติได้

ต่อไปข้อให้ลุกขึ้นยืน ยืนอย่างมีสติ ด้วยการรู้ลมหายใจเล็กน้อย  รู้สัมผัสของเท้าที่พื้นลองสังเกตความรู้สึกที่เกิดขึ้น พร้อมๆกับรับรู้ลมหายใจที่บริเวนปลายจมูกไปด้วยจะพบว่าเราสามารถยืนได้นิ่งมากกวว่าที่เคยและยืนได้นานโดยไม่รู้สึกเบื่อ

Jul 26, 202213:55
ED2การแบ่งประเภทผู้ป่วย

ED2การแบ่งประเภทผู้ป่วย

หาอ่านได้ในหน้องสมุด

Jul 22, 202212:04
1 ขั้นตอนที่ 1 Emporering and Engagement EP.1 ประเมินความต้องการมีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง

1 ขั้นตอนที่ 1 Emporering and Engagement EP.1 ประเมินความต้องการมีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง

การบริการตามวิภีใหม่ ให้ทีมสหิชาชีพมีความเข้าใจกระบวนการhealth literacy  Health education 

Jul 21, 202215:30
คู่มือการฝึกสติแบบสั้น Mindfulness based brief intervention : MBBI

คู่มือการฝึกสติแบบสั้น Mindfulness based brief intervention : MBBI

สาหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ในผู้มีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต

และผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)

มกราคม 2565

ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์

กร

Jul 20, 202220:40
ตอนที่ 1 หลักการ

ตอนที่ 1 หลักการ

2 กลยุทธ์ 

1. การสร้างความสัมพันธ์ และเสริมพลังให้ประชาชน และชุมชนเพื่อให้เกิดความตระหนักและความรอบรู้ด้านสุขภาพ

2.การปรับรูปแบบของการจัดกระบวนการดูแลรักษาผู้ป่วย โดยให้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางให้การรักษาที่เหมาะสมกับระดับความเสี่ยงรายบุคคล

Jul 19, 202210:37
ขั้นตอนที่ 5 Assessment

ขั้นตอนที่ 5 Assessment

แพทย์  พยาบาลวิชาชีพ  และทีมหมอครอบครัวหรือหมอประจำตัว ต้องประเมินการเปลี่ยนแปลง  Stage of change 

Jul 19, 202211:05
ภาพร่วม

ภาพร่วม

เป็นคู่มือที่มีประโยชน์ทั้งสำหรับโรงพยาบาล แพทย์ พยาบาล บุคลากรสาธารณสุข และผู้ป่วยทุกท่าน

Jul 19, 202213:10
ภาพร่วมของคู่มือ

ภาพร่วมของคู่มือ

โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง  เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประเทศ  และเป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิด โรคอื่นๆ ตามมา เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะไตวายเรื่องรัง  และโรคอื่นๆ ทุกภาคส่วนมีความพยายามในการจัดระบบบบริการให้การรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง  โดยคู่มือนี้ได้มีการจัดกลุ่มผู้ป่วย  เพื่อจัดระบบบบริการให้มีความเหมาะสมตามความเสี่ยง  และระดับความรุนแรงของโรค  สนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมในการวางแผนการรักษา  และกระตุ้นศักยภาพของผู้ป่วยและสังคม  เสนอการปรับระบบบริการไปสู่ระบบวิถีใหม่  การยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง  ช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถบริหารจัดการเวลาในแต่ละกระบวนการดูแลผู้ป่วยได้อย่างทั่วถึง  นำไปสู่การมีผลลลัพธ์ทางคลินิกที่ดีขึ้น  

Jul 19, 202213:10
ความเครียดดของผู้ป่วยและผู้สูงอายุ

ความเครียดดของผู้ป่วยและผู้สูงอายุ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สุวรรณา อนุสันติ เขียน พิมพ์โดย วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ ปี2562  

Jul 19, 202213:55
ความหมายการสนทนาสร้างแรงจูงใจ

ความหมายการสนทนาสร้างแรงจูงใจ

การสนทนาสร้างแรงจูงใจเป็นรูปแบบการสนทนาที่ใช้แนวคิดพื้นฐานของการให้การปรึกษา 

ระดับขั้นของแรงจูงใจในการเปลี่ยนแปลงตนเอง

Jul 12, 202214:48
การป้องกันภาวะสมองเสื่ออม

การป้องกันภาวะสมองเสื่ออม

พิมพ์ 1 ก.พ.61 โดยสมาคมพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุไทย

บรรณาธิการ  วีรศักดิ์ เมืองไพศาล

Jul 11, 202213:14
องค์ประกอบของEQ

องค์ประกอบของEQ

ฎน

Jul 04, 202210:36
สิ่งล้ำค่าใกล้ตัวฉัน

สิ่งล้ำค่าใกล้ตัวฉัน

วรรณวิไล ภู่ตระกูล เขียน

วิธีสร้างพลังใจจากสิ่งล้ำค่าใกล้ตัวเรา 

1 พัก...ตั้งสติปล่อยวางความคิดที่เป็นทุกข์  ความอ่อนล้าทั้งหลายทั้งปวง

2.หลับตาเบาๆนึกถึงสิ่งดีๆ เรื่องราวดีๆ สิ่งที่ทำให้เรามีความสุข คนใกล้ตัวที่รักเราหรือที่เรารัก

3.ติดต่อพูดคุยกับใครคนนั้น บางครั้งเราก็แค่อยากจะหาเรื่องหัวเราะ

เราสามารถทำได้ค่ะ

Jun 30, 202203:47